TOP ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา SECRETS

Top ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Secrets

Top ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Secrets

Blog Article

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

แม้วิกฤตการเรียนรู้จะเกิดขึ้นจริง แต่รายงานกลับเปรียบเปรยว่า วิกฤตนี้เป็นเสมือนวิกฤตที่ไม่มีใครมองเห็น เพราะไม่มีใครสนใจเท่าที่ควร อีกทั้ง ระบบการศึกษาส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เก็บข้อมูลในส่วนของการเรียนรู้ จนแทบเป็นไปไม่ได้ด้วยซ้ำที่จะสร้างแรงผลักดันอะไรขึ้นมาได้

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

ก็เป็นความเสี่ยงสูงที่ทำให้เด็กหลุดจากระบบการศึกษาได้

นิธิศ วงศ์ตุลาการ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช สรัญญา แสงอัมพร มหาวิทยาลัยมหากุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช สันติ อุนจะนำ มหาวิทยาลัยมหากุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช คำสำคัญ: ผลการเรียนของนักเรียน, ปัจจัยความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช บทคัดย่อ

โครงการทุนพัฒนาเต็มศักยภาพสายอาชีพ ให้ทุนเรียนต่อปริญญาตรีถึงปริญญาเอก สำหรับนักศึกษายากจนที่เรียนดีซึ่งกําลังใกล้จบ ปวส. หรืออนุปริญญาสายอาชีพ

กสศ. ความเสมอภาคทางการศึกษา เวทีการประชุมเครือข่ายสมาคมการวิจัยด้านการศึกษาโลก ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ทักษะสำหรับอนาคต วิกฤตการเรียนรู้

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

การพัฒนาทักษะต่างๆ จะเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก โดยเด็กคนหนึ่งจะเริ่มพัฒนาทักษะทางการคิดขั้นพื้นฐาน ก่อนจะพัฒนาขั้นที่สูงขึ้นเมื่อเติบโตเป็นวัยรุ่นและเข้าสู่ช่วงผู้ใหญ่ตอนต้น พร้อมๆ กับเริ่มพัฒนาทักษะเชิงเทคนิคที่จำเป็นต่อการทำงานไปด้วย ขณะที่ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการพัฒนาทักษะด้านอารมณ์และสังคมคือวัยเด็กตอนต้น และเริ่มพัฒนาต่อในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้นผ่านทางประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้รับ

ด้วยนักเรียนที่โรงเรียนเป็นเด็กชาติพันธุ์การใช้ภาษาไทยส่วนใหญ่จะอยู่ที่โรงเรียนเป็นหลัก พอกลับบ้านเด็ก ๆ จะแทบไม่ได้ใช้ภาษาไทย และยิ่งช่วงโควิดประกาศปิดการเรียนการสอน ทำให้ไม่สามารถมาเรียนได้และด้วยข้อจำกัดในการสื่อสารการเรียนการสอนออนไลน์ตัดขาดไปโดยปริยาย แต่ยังมีความโชคดีที่มีสื่อการเรียนการสอนพระราชทานในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ฯ  เป็นสื่อการเรียนการสอน-แบบฝึกหัดแบบออฟ-ไลน์ พกติดไปเวลาเยี่ยมบ้านพร้อมแบบฝึกหัดภาษาไทยเพื่อให้เด็กใช้ทบทวนและเรียนรู้ และในทุก ๆ สัปดาห์ครูอุ้ยจะเข้าไปเก็บกลับเพื่อตรวจการบ้านและนำชุดการเรียนรู้และแบบฝึกหัดชุดใหม่ไปให้เด็ก ๆ ทบทวน เพื่อเตรียมความพร้อมหากพ้นช่วงสถานการณ์โควิดแล้ว เด็ก ๆ จะไม่ลืมภาษาไทยที่เป็นภาษาหลักที่ใช้สื่อสารในโรงเรียน 

คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่เสถียรหรือเข้าไม่ถึงโรงเรียนที่อยู่บนดอยอย่างในจังหวัดเชียงราย น่าน แม่ฮ่องสอน ทำให้ระบบการแจ้งข่าวและส่งข้อมูลเป็นไปอย่างยากลำบาก

สร้างมาตรฐานขั้นต่ำ – ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ

ถ้าเราด่วนสรุปว่าการแก้ปัญหาเรื่องความเสมอภาคด้านการศึกษา คือการเพิ่มวงเงินช่วยเหลือให้มากขึ้นจนกว่าจะครอบคลุมจำนวนนักเรียนยากจนทั้งหมดในประเทศไทย ก็อาจเป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงเป้า

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา คือ การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกัน เนื่องมาจากโครงสร้างทางสังคมอันส่งผลให้เกิดปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน โดยผู้ได้รับการสนับสนุนให้เข้าถึงการศึกษาที่ดีกว่า ย่อมมีโอกาสในการเลือกระดับคุณภาพของการศึกษาที่มากกว่าผู้ที่มีปัจจัยและทรัพยากรที่น้อย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

Report this page